วันที่ 29 มิถุนายน 2555
อาจารย์ให้นักศึกษาไปศึกษาค้นคว้า
เรื่องพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
พัฒนาการทางภาษาของเด็กตั้งแต่แรกเกิด
– 6 ปี
1. เด็กแรกเกิดปกติจะไม่ออกเสียง จะทำเสียงร้องไห้ สะอึก จาม เรอ
2. เด็กอายุ 5 - 6 สัปดาห์เริมทำเสียงเล่นโดยเฉพาะถ้ามีคนมาเล่น
หลอกล้อ
3. เด็กอายุ 3 เดือน
ชอบเล่นเสียงและจะทำเสียงสูงตามผู้อื่น หยุดนิ่งขณะที่ผู้อืนทำเสียงพูดด้วย
4. เด็กอายุ 6 เดือน
ชอบหัวเราะและส่งเสียงเมื่อ มีคนมาเล่นด้วย ถ้าไม่พอใจก็ร้องกรี๊ดกร๊าด
ชอบเล่นเสียง และออกเสียงเป็น “เกอ” “เลอ”
เป็นต้น
5. เด็กอายุ 9 เดือน ชอบเลียนเสียงผู้ใหญ่
ชอบออกเสียงเป็นคำ เช่น “หมํา หมํา” “ดา ดา” โดยออกเสียงซ้ำๆ บ่อยๆ
6. เด็กอายุ 1 ปี เริ่มเข้าใจความหมายของคำ
เช่น “ส่งให้แม่” และออกเสียงคำที่มีความหมายได้
1 – 2 คำ เช่น “แม่” “บ๊าย บาย” พูดได้ประมาณ 6 – 20 คำ
7. เด็กอายุ 2 ปี เด็กพูดได้ประมาณ 50 คำ และบางทีก็พูดเป็นประโยคสั้นๆ ได้ เริ่มใช้คำแทนตัวเอง เริ่มตั้งคำถาม
และเข้าใจเรื่องที่ผู้อื่นพูดด้วย
8. เด็กอายุ 3 ปี
เด็กจะเริ่มรู้คำศัพท์มากขึ้น, นับเลขได้, ช่วยพูด, บอกได้ว่าต้องการอะไร
9. เด็กอายุ 3.5 – 4 ปี เด็กพูดมากขึ้น
และมีคำศัพท์ใหม่ พูดติดอ่างชั่วระยะหนึ่งพูดประโยคยาวๆ ได้มากขึ้น
รู้จักวางประโยคได้ถูกต้อง เข้าใจคำว่า “ข้างบน” “ข้างล่าง” รู้จักใช้คำปฏิเสธ เช่น ไม่ไป มักใช้คำว่า
“สมมุติ....” ฟังนิทานได้ประมาณ 20 นาที
10. เด็กอายุ 4 – 5 ปี
เด็กจะมีคำศัพท์ได้ประมาณ 1,500 – 1,900 คำ
บอกชือและนามสกุลตนเองได้ รู้จักเพศของตนเอง ชอบแต่งประโยคและใช้คำต่างๆ
ชอบใช้คำถาม ทำไม เมือ ไหร่ อย่างไร และสนใจความหมายของคำต่างๆ
11. เด็กอายุ 5 – 6 ปี
เด็กจะสามารถพูดได้คล่องและถูกหลักไวยากรณ์แต่ยังออกเสียงพยัญชนะบางตัวไม่ชัดเจน
เช่น ส ว ฟ สนใจคำใหม่ๆ และพยายามค้นหาความหมายของคำนั้นๆ จำคำศัพท์ได้ถึง 2,200 คำ บอกชือ ทีอ ยู่ อายุ และวันเกิดของตนเองได้ ชอบท่องหรือร้องเพลง ทีม
ีจังหวะและเนือร้องทีม ีคำสัมผัสกัน หรือโฆษณาทางทีวี
อ้างอิง :: วิทยานิพนธ์ของ นภเนตร ธรรมบวร
หมายเหตุ :: ไม่มีการเรียนการสอน
หมายเหตุ :: ไม่มีการเรียนการสอน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น